'เซน' เน้นการใช้ชีวิตที่เรียบง่าย
ถ่อมตน และมีเป้าหมาย
รู้จักหยุด
รู้จักยอม
รู้จักเย็น
ดร.ละเอียด ศิลาน้อย
มี.ค 50
หนังสือ
เล่นนี้ได้เปลี่ยนความคิดบางอย่างที่เคยเชื่อมา เกี่ยวกับศาสนา
การยึดถือปฏิบัติกับอะไรบางอย่าง เป้าหมายความเชื่อบางอย่างของชีวิต
เรียนรู้ด้วยใจถ่อม : ขงจื้อ กล่าวว่า เดินกันมา 3 คน ต้องมีคนหนึ่งเป็นครูของฉันได้แน่นอน
- เป็นพยายานเน้นความสำคัญของการเรียนรู้ได้ดีเรื่องหนึ่งและท่านยังสรุปว่า ความรู้ที่แท้คือ เมื่อรู้ก็รู้ว่ารู้ เมื่อไม่รู้ก็รู้ว่าไม่รู้ นี่แหละคือความรู้ที่แท้ละ
"ยึดมั่นคราใด
เป็นทุกข์ครานั้น"
ปล่อยวางอย่างเซน : ความยึดมั่นถือมั่น เป็นโซ่ตรวนเส้นสำคัญที่ผูกพันพวกเราไว้ในวังวนแห่งวัฏสงสาร
"ไม่ยึดมั่น" ในภาษาที่เราใช้กันโดยทั่วๆ ไปก็คือ ปล่อยวาง นั่นเอง ต้องรู้จักปล่อยวางเสียบ้างจะได้ไม่ทุกข์
"เราต้องไม่เข้าจัดการกับปัญหาต่างๆ
ด้วยอารมณ์"
ไหวพริบ-สิ่งอันเป็นที่ต้องการในทุกกรณี : การใช้ไหวพริบเข้าจัดการอย่างมียุทธวิธีที่ดี จะอำนวยผลลัพธ์เป็นที่น่าพอใจเสมอๆ
ชีวิตประจำวันนั่นแหละคือเซน : การตรัสรู้มิใช่ว่ารู้สิ่งใดๆ หากแต่เป็นการรู้จักจิตของตนอย่างถ่องแท้นั่นเองพวกเราก็ดูจะไม่สะใจ
ชีวิตของเรามีอยู่ด้วยกัน 3 ขั้นตอน แบ่งอย่างง่ายๆ คือ..
ขั้นแรก เป็นชีวิตตามธรรมดาสามัญของพวกเราชาวบ้านทั่วๆ ไป
ขั้น ที่สอง เป็นขั้นที่ปลีกตัวแยกออกต่างหากจากกลุ่มกลายเป็นพวกพิเศษออกไปอย่างโดเด่น บางทีถึงกับเป็นปฏิปักษ์ต่อชีวิตตามขั้นตอนแรกเสียด้วยซ้ำไป
พอ ขั้นที่สาม ชีวิตจะเป็นไปในรูปแบบเดิมเหมือนขั้นที่หนึ่งอีก แต่เป้นขั้นเดิมที่ไม่เหมือนขั้นเดิม หรือเป้นขั้นที่หนึ่งที่ไม่เหมือนขั้นที่หนึ่ง
สปิริตแห่งเซน : ชีวิตเซนเป็นชีวิตที่ไม่มีอดีต ไม่มีอนาคต มีแต่วันนี้ หรือพูดให้ลึก ชีวิตเซนคือชีวิตที่ดำรงขณะเดียว
มีสติอยู่กับปัจจุบันขณะ อดีตก็ละไปแล้ว อยนาคตก็ยังไม่มา จงใช้ชีวิตอยู่กับวันนี้
"รู้จักปลง รู้จักปล่อย รู้จักเย็น"
ทำใจ : ปัญหาทุกอย่างมีเหตุมีปัจจัยก่อให้เกิดขึ้นมา ผลักดันให้เกิดมีขึ้นมา หากขจัดเหตุแห่งปัญหาได้ ปัญหาก็จะสิ้นสุดลง
ต้อง มั่นใจให้ได้ว่าไม่มีอะไรได้ดังใจเรา โลกนี้เป็นโลกแห่งเหตุผล(มีเหตุและมีผลเกิดขึ้นมาแต่เหตุ) มีแก่นสารเป็นความเปลี่ยนแปลงนิรันดร
"การ 'ปลง'
เป็นการยุติเรื่องนั้นให้หยุดอยู่แต่นั้น"
ปลงให้ตก : ทำอะไรดีๆ แล้วคนไม่เข้าใจ เราก็ต้องปลง ต้องอดทน
บางที เราก็พูดอธิบายไม่ได้เสียด้วย มันก็ต้องปล่อยไปอย่างนั้น แต่ทว่าเราจะยังคงแน่วแน่ของเราต่อไป-เราหวังทำเพื่อความถูกต้องถูกธรรมมิ ใช่หรือ เรามิได้ทำเพื่อหวังจะให้ถูกใจใครมิใช่หรือ?
เมตตาธรรม : ท่านพุธทาสภิกขุ กล่าวว่า จิตที่ให้นั้นสบายกว่าจิตที่คิดจะรับ(เอา)
ผู้ไร้เวรไร้ภัยไปไหนมาไหนก็สบายเบาใจ
ผู้หญิงกับเซน : ในเซนไม่มีหญิงไม่มีชาย มีแต่ธรรมชาติล้วนๆ ที่กำลังดำเนินไป
"หากไม่รู้จักตัวเอง
เที่ยวเอาตัวเองไปเทียบเปรียบกับคนโน้นคนนี้
ไม่นานก็จะเห็นตัวเองน่าเกลียด"
กุศโลบาย : ชีวิตคือความสัมพันธ์ ถ้าชีวิตอยู่โดดเดียวนั่นไม่เรียกว่าชีวิต
สัตย์ซื่อและจริงใจ : บางคนเห็นว่าซื่อนั้นเป็นสิ่งเดียวกัน การได้ เป็นสิ่งที่ดี การสูญเสียหรือการรอด เป็นสิ่งที่เลว
อย่า "อะไรก็ได้" : จะทำอะไรสักอย่างหนึ่ง ต้องมีจุดหมายหรือที่หมาย
ทุกเรื่องเราต้องกำหนดให้ชัดในใจว่าเราจะทำอะไร เพื่ออะไร-มีอะไรเป็นเป้าหมายหรือที่หมายและด้วยวิธีใด
สติ-ที่พึ่ง อักปลอดภัย : คนที่ไม่มีสติ คือคนที่ลืมตัว ไม่รู้สึกตัว พอมีอะไรเกิดขึ้นก็พลัดเข้าไปในสิ่งนั้นๆ ไหลไปตามกระแส ตั้งตัวไม่ติด มีความคิดเกิดขึ้นในจิตก็พลัดเข้าไปในความคิด
สติอยู่ในกาย คือเมื่อกายไหวกายเคลื่อนก็ให้รู้สึกตัว รู้สึกในการไหวการเคลื่อนนั้น อยู่กับความรู้สึกของกายที่เคลื่อนไหวนั้นให้ต่อเนื่อง
หากมีสติรู้สึกตัวอยู่เสมอตลอดเวลา จะทำให้มีความทรงจำดีโดยไม่ต้องไปกำหนดจดจำเป็นพิเศษ
"สมาธิทำให้เกิดความสุขในการปฏิบัติ"
สมาธิ-ทางรอด : สมาธิ คือ ความตั้งมั่นแห่งจิต ความแน่วแน่แห่งจิต หรือการสำรวมใจให้แน่วแน่
การ กำหนดลมหายใจ คือรู้สึกถึงการเคลื่อนไหวของลมหายใจเข้า-ออกของเรา หรือรู้สึกถึงการเคลื่อนไหวของร่างกายของเรา ซึ่งอาจเป็นการนั่งหรือยืนหรือเดิน หรือนอนก็ได้
ในทางพระพุทธศาสนา ได้แบ่งปัญญญาออกเป็น 3 ประเภท คือ..
สุตมยปัญญา คือ ปัญญาได้จากการฟัง ฟังมากๆ ก็รอบรู้มากเกิดปัญญามาก
จินตามยปัญญา คือ ปัญญาได้จากการขบคิดตรึกตรองมากๆ ก็เกิดปัญญา
ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการเพ่งภาวนาอบรมให้มีขึ้น
เซน คืออะไร?
ขอให้ขบกันต่อไป อย่ายึดเอาข้อสรุปใดเป็นข้อสรุปใดเป็นคำตอบ จงแสวงหาไปอย่าหยุด จนกว่าจะพบ "เซน" เข้าด้วยตนเอง อย่างตรงๆ
ชีวิตของเรามีอยู่ด้วยกัน 3 ขั้นตอน แบ่งอย่างง่ายๆ คือ..
ขั้นแรก เป็นชีวิตตามธรรมดาสามัญของพวกเราชาวบ้านทั่วๆ ไป
ขั้น ที่สอง เป็นขั้นที่ปลีกตัวแยกออกต่างหากจากกลุ่มกลายเป็นพวกพิเศษออกไปอย่างโดเด่น บางทีถึงกับเป็นปฏิปักษ์ต่อชีวิตตามขั้นตอนแรกเสียด้วยซ้ำไป
พอ ขั้นที่สาม ชีวิตจะเป็นไปในรูปแบบเดิมเหมือนขั้นที่หนึ่งอีก แต่เป้นขั้นเดิมที่ไม่เหมือนขั้นเดิม หรือเป้นขั้นที่หนึ่งที่ไม่เหมือนขั้นที่หนึ่ง
สปิริตแห่งเซน : ชีวิตเซนเป็นชีวิตที่ไม่มีอดีต ไม่มีอนาคต มีแต่วันนี้ หรือพูดให้ลึก ชีวิตเซนคือชีวิตที่ดำรงขณะเดียว
มีสติอยู่กับปัจจุบันขณะ อดีตก็ละไปแล้ว อยนาคตก็ยังไม่มา จงใช้ชีวิตอยู่กับวันนี้
"รู้จักปลง รู้จักปล่อย รู้จักเย็น"
ทำใจ : ปัญหาทุกอย่างมีเหตุมีปัจจัยก่อให้เกิดขึ้นมา ผลักดันให้เกิดมีขึ้นมา หากขจัดเหตุแห่งปัญหาได้ ปัญหาก็จะสิ้นสุดลง
ต้อง มั่นใจให้ได้ว่าไม่มีอะไรได้ดังใจเรา โลกนี้เป็นโลกแห่งเหตุผล(มีเหตุและมีผลเกิดขึ้นมาแต่เหตุ) มีแก่นสารเป็นความเปลี่ยนแปลงนิรันดร
"การ 'ปลง'
เป็นการยุติเรื่องนั้นให้หยุดอยู่แต่นั้น"
ปลงให้ตก : ทำอะไรดีๆ แล้วคนไม่เข้าใจ เราก็ต้องปลง ต้องอดทน
บางที เราก็พูดอธิบายไม่ได้เสียด้วย มันก็ต้องปล่อยไปอย่างนั้น แต่ทว่าเราจะยังคงแน่วแน่ของเราต่อไป-เราหวังทำเพื่อความถูกต้องถูกธรรมมิ ใช่หรือ เรามิได้ทำเพื่อหวังจะให้ถูกใจใครมิใช่หรือ?
เมตตาธรรม : ท่านพุธทาสภิกขุ กล่าวว่า จิตที่ให้นั้นสบายกว่าจิตที่คิดจะรับ(เอา)
ผู้ไร้เวรไร้ภัยไปไหนมาไหนก็สบายเบาใจ
ผู้หญิงกับเซน : ในเซนไม่มีหญิงไม่มีชาย มีแต่ธรรมชาติล้วนๆ ที่กำลังดำเนินไป
"หากไม่รู้จักตัวเอง
เที่ยวเอาตัวเองไปเทียบเปรียบกับคนโน้นคนนี้
ไม่นานก็จะเห็นตัวเองน่าเกลียด"
กุศโลบาย : ชีวิตคือความสัมพันธ์ ถ้าชีวิตอยู่โดดเดียวนั่นไม่เรียกว่าชีวิต
สัตย์ซื่อและจริงใจ : บางคนเห็นว่าซื่อนั้นเป็นสิ่งเดียวกัน การได้ เป็นสิ่งที่ดี การสูญเสียหรือการรอด เป็นสิ่งที่เลว
อย่า "อะไรก็ได้" : จะทำอะไรสักอย่างหนึ่ง ต้องมีจุดหมายหรือที่หมาย
ทุกเรื่องเราต้องกำหนดให้ชัดในใจว่าเราจะทำอะไร เพื่ออะไร-มีอะไรเป็นเป้าหมายหรือที่หมายและด้วยวิธีใด
สติ-ที่พึ่ง อักปลอดภัย : คนที่ไม่มีสติ คือคนที่ลืมตัว ไม่รู้สึกตัว พอมีอะไรเกิดขึ้นก็พลัดเข้าไปในสิ่งนั้นๆ ไหลไปตามกระแส ตั้งตัวไม่ติด มีความคิดเกิดขึ้นในจิตก็พลัดเข้าไปในความคิด
สติอยู่ในกาย คือเมื่อกายไหวกายเคลื่อนก็ให้รู้สึกตัว รู้สึกในการไหวการเคลื่อนนั้น อยู่กับความรู้สึกของกายที่เคลื่อนไหวนั้นให้ต่อเนื่อง
หากมีสติรู้สึกตัวอยู่เสมอตลอดเวลา จะทำให้มีความทรงจำดีโดยไม่ต้องไปกำหนดจดจำเป็นพิเศษ
"สมาธิทำให้เกิดความสุขในการปฏิบัติ"
สมาธิ-ทางรอด : สมาธิ คือ ความตั้งมั่นแห่งจิต ความแน่วแน่แห่งจิต หรือการสำรวมใจให้แน่วแน่
การ กำหนดลมหายใจ คือรู้สึกถึงการเคลื่อนไหวของลมหายใจเข้า-ออกของเรา หรือรู้สึกถึงการเคลื่อนไหวของร่างกายของเรา ซึ่งอาจเป็นการนั่งหรือยืนหรือเดิน หรือนอนก็ได้
ในทางพระพุทธศาสนา ได้แบ่งปัญญญาออกเป็น 3 ประเภท คือ..
สุตมยปัญญา คือ ปัญญาได้จากการฟัง ฟังมากๆ ก็รอบรู้มากเกิดปัญญามาก
จินตามยปัญญา คือ ปัญญาได้จากการขบคิดตรึกตรองมากๆ ก็เกิดปัญญา
ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการเพ่งภาวนาอบรมให้มีขึ้น
เซน คืออะไร?
ขอให้ขบกันต่อไป อย่ายึดเอาข้อสรุปใดเป็นข้อสรุปใดเป็นคำตอบ จงแสวงหาไปอย่าหยุด จนกว่าจะพบ "เซน" เข้าด้วยตนเอง อย่างตรงๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น